อันดับที่ 10 New Wembley Stadium ( England )
เปิดใช้ครั้งแรก 17 มี.ค 2007 ใช้เวลาก่อสร้าง 2,352 วัน ด้วยงบประมาณกว่า 757 ล้านปอนด์
อีกทั้งกำหนดการสร้างเสร็จก็ล่าช้าและเต็มไปด้วยความสับสน
มีที่จอดรถไว้รองรับเพียง 2,900 คัน
ซึ่งในจำนวนนี้ถูกจองไว้ให้กับแขกระดับวีไอพี นั่นหมายความว่าแฟนบอลส่วนใหญ่ต้องจำใจไปใช้รถไฟใต้ดิน
สนามเวมบลีย์เก่านั้นเปิดใช้ตั้งแต่เดือนเมษายน ปี 1923 โดยใช้เวลาการก่อสร้าง 300 วัน ด้วยงบประมาณ 7.5 แสนปอนด์
ขณะที่ นิวเวมบลีย์ ได้รับการส่งมอบจากบริษัทก่อสร้างล่าช้าไปปีกว่า อีกทั้งยังใช้งบประมาณเกินกว่าที่ตั้งไว้มาก
ด้วยเหตุนี้จึงต้องมีการชดเชยค่าผิดสัญญาเป็นเงินกว่า 352 ล้านปอนด์เลยทีเดียว
ปัจจุบัน สนามนิวเวมบลีย์ มีความจุ 90,000 คน
อันดับที่ 9 สนาม L'Estadi หรือ (Camp Nou) ของสโมสร Barcelona
เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 28 มีนาคม ค.ศ. 1953
และเปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1957
และใช้ชื่อ L'Estadi และมีความจุ 93,000 คน ในปี 1982
สนามแห่งนี้ เคยรองรับแฟนบอลในระหว่างเกมส์ฟุตบอลโลกถึง 115,000คน
ซึ่งที่นั่งชั้นสุดท้ายมีความสูงถึง 157 ฟุต ปี 1994 สนามคัมป์ นู
กลายเป็นสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป ซึ่งจุได้ 98,000 คน
ปัจจุบัน สนามคัมป์ นู มีความจุ 98,934 คน
อันดับที่ 8 สนาม Macarana ( Brazil )
เป็นสนามฟุตบอลในรีโอเดจาเนโร ในประเทศบราซิลและเป็นหนึ่งในสนามฟุตบอลที่ใหญ่ที่สุดในโลก
โดยชื่อของ มาราคาน่า นั้นมาจากชื่อชุมชนมาราคาน่าโดยรอบ
สนามมาราคานันเป็นสนามเหย้าของสโมสรฟุตบอล 3 สโมสร
ได้แก่ Flamengo, Botafogo and Fluminense.
สนามก่อสร้างเพื่อใช้ในการแข่งขันฟุตบอลโลก 1950 โดยมีความจุตอนแรก
200,000 คน แต่ภายหลังได้ลดลงเนื่องจากการปรับปรุงให้มีการติดตั้งที่นั่ง
สนามมาราคาน่า รูปแบบคล้ายชามขนานใหญ่ โดยอัศจรรย์ แบ่งเป็น 2
ชั้น ชั้นที่ 1 ลาดไม่ชั้นมาก ที่นั่งหลบเข้าในชั้นที่ 2
เป็นสถาปัตยกรรมขนาดใหญ่ ที่มีความสูงเพียง 24 เมตร หรือ 78 ฟุต
โดยปัจจุบันมีความจุ 93,916 ที่นั่ง ถ้ารวมที่ยืนด้วยจะจุคนได้ 103,022 คน
อันดับที่ 7 สนาม Azadi Stadium เตหะราน ประเทศอิหร่าน
สร้างในปี 1971 ด้วยให้มีความจุ 120,000 คน
แต่เกมส์ระหว่าอิหร่านกับซาอุในฟุตบอลโลกรอบคัดเลือกมีผู้ชมแออัดเกือบ150,000 คน
ปัจจุบันได้มีการปรับปรุงใหญ่และติดเก้าอี้
ซึ่งปัจจุบันมีความจุ 100,000 คน
อันดับที่ 6 Jawaharlal Nehru Stadium (New Delhi) นิวเดลีประเทศอินเดีย
สร้างขึ้นเมื่อปีที่ 1982 ใช้เป็นทั้งสนามฟุตบอล และสนามคลิ๊กเก็ต
ปัจจุบัน อินเดียได้เป็นเจ้าภาพกีฬาเครือจักรภพ ใน ปี 2010
ทำให้รัฐบาลได้มีการปรับปรุงครั้งใหญ่
อินเดียทุ่มเงินนับพันล้านรูปีจัดแข่งขันกีฬาในเครือจักรภพปี 2010
ระหว่างวันที่ 3-10 ตุลาคม ปี 2010 โดยมีการสร้างห้องพักนักกีฬา
โดยปัจจุบันมีความจุที่เก้าอี้ 100,000 คน
อันดับที่ 5 Melbourne Cricket Ground ออสเตรเลีย
สนามที่ใช้แข่งคลิ๊กเก็ท ฟุทบอล และรักบี้ฟุตบอลของออสซี่เค้า
(กีฬาที่ถือลูกรักบี้ไล่เตะเอามือต่อยลูกกัน คงเคยดูนะช่องสตาร์สปอต)
ก่อสร้างในปี 1859
ปัจจุบันแทบไม่ได้ใช้แข่งฟุตบอลเลย ความจุ 100,000 ที่นั่ง
อันดับที่ 4 Bukit Jalil Stadium มาเลเซีย
ก่อสร้างในปี 1998 มาเลเซียสร้างสนาม Bukit Jalil
เพื่อรองรับการแข่งขันกีฬา Commonwealth games 1998 ที่ตนเองเป็นเจ้าภาพ
ปัจจุบัน มีความจุ 100,200 คน
อันดับที่ 3 สนาม Estadio Azteca เม็กซิโก้ซิตตี้ ประเทศเม็กซิโก
สร้างขึ้นในปี 1966 ใช้รองรับฟุตบอลโลกรอบสุดท้ายถึง 2 ครั้ง
คือใน ปี 1970 และในปี 1986 เจ้าของโครงการคือ Pedro Ramiarez Vazquez
และ Rafael Mijares Alcerra ออกแบบโดยสถาปานิก ถึง 12 คน
และวิศวกร ดูแลโรงการ 34 คน ช่างเทคนิก 15 คน และคนงาน 800 คน
ปัจจุบันมี ความจุ 105064 คน
อันดับที่ 2 Saltlake Stadium ประเทศอินเดีย
ข้อมูลไม่มีนะคับ
ปัจจุบัน ความจุ 120,000 คน
อันดับที่ 1 สนามที่จุคนได้มากที่สุดในโลก Rungrado May Day Stadium เปียงยาง ประเทศเกาหลีเหนือ
สร้างในปี 1989 จุถึง 150,000 คน เคยจุคนดูได้สูงสุดถึง 193,960 คน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น